วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2560

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ (Baseband and Broadband)

การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์ 

(Baseband and Broadband)        


     IEEE 802.3 ได้กำหนดมาตรฐานหรือเทคนิคในการส่งข้อมูลบนสาย ซึ่งปกติสัญญาณข้อมูลที่ส่งภายในเครือจะมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และการส่งข้อมูลแบบบรอดแบนด์

      การส่งสัญญาณแบบเบสแบนด์ (Baseband) 
             คำว่า Base คือสัญญาณดิจิตอล ซึ่งในที่นี้คือการเข้ารหัสแมนเชสเตอร์ (Manchester Encoding) โดยทาง IEEE ได้มีการแบ่งสัญญาณข้อมูลแบบเบสเบนด์ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามมาตรฐานดังนี้คือ 10Base5, 10Base2, 10Base-T, 1Base5 และ 100Base-T โดยตัวเลขข้างหน้าคืออัตราความเร็วในการส่งข้อมูลซึ่งมีหน่วยวัดเป็นเมกะบิตต่อวินาที (Mbps) และส่วนที่กำกับท้าย เช่น 5, 2, 1 หรือ T นั้นคือความยาวสูงสุดของสายเคเบิลหรือชนิดของสายเคเบิล
      ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband)
จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลยตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลัก ๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband

      

       การส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
             คำว่า Broad คือสัญญาณแอนะล็อก ซึ่งในที่นี้คือการเข้ารหัส PSK โดยการส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์นี้จะเป็นการส่งข้อมูลแบบหลายช่องทาง ข้อมูลที่ส่งจะส่งในย่านความถี่ที่แตกต่างกันบนสายส่งเส้นเดียว ที่เป็นไปตามหลักการมัลติเพล็กซ์  FDM  นั้นเอง โดยทาง IEEE ได้กำหนดให้ 10Broad36 เป็นการส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์เพียงชนิดเดียว ในทำนองเดียวกัน ตัวเลขข้างหน้านั้นคืออัตราความเร็มในการส่งข้อมูล ในขณะที่ตัวเลขกำกับท้ายก็ตือความยาวสูงสุดของสายเคเบิล อย่างไรก็ตาม ความยาวสูงสุดของสายเคเบิลอาจจะเปลี่ยนแปลงได้โดยกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงในระยะทางที่ไกลออกไป ก็จะต้องใช้อุปกรณ์เครื่องทวนสัญญาณช่วย เช่น อุปกรณ์รีพีตเตอร์ หรือบริดจ์ เป็นต้น
      ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
             ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband) จะตรงข้ามกับ Baseband นั่นคือ จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กันโดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองผ่านตัวกลางเดียว ตัวอย่างเช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกันหลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียว และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้ เป็นต้น
Baseband เป็นการส่งข้อมูลแบบช่องสัญญาณเดียว เป็นสัญญาณ Digital
broadband เป็นการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ เป็นสัญญาณ Analog 










เครติด  www.geocities.ws/swordart/Band.html

Baseband และ Broadband ต่างกันอย่างไร



Baseband และ Broadband ต่างกันอย่างไร



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Baseband และ Broadband

      
      1Baseband คือการเข้ารหัส ทางดิจิตอล โดยมีค่าทางไฟฟ้า 0 และ 1 โดยแบ่งออกเป็ตามมาตรฐาน ต่างๆ ดังนี้ 10 Base 5 , 10 ฺBase 2 ,10 Base-T, 1Base5 และ 100ฺBase-T โดยตามมาตรฐานคือการส่งสัญญาณ 10 Base xx คือ 10 Mbps ส่วนด้านหลังคือความยาวของสาย เช่น 100Base -T คือ ความเร็ว 100 Mbps ใช้บนสาย Pair หรือสายแลน
โดย   Baseband   จะใช้วิธีการส่ง คือช่องสื่อสารเดียว ซึ่งแตกต่างกับ แบบ Broadband   ที่ สายสัญญาณ 1 เส้น สามารถ ใช้ได้หลายๆช่องสัญญาณ ด้วยเทคนิคดังกล่าวจะเห็นได้ว่าค่ายๆ บริษัทอินเตอร์เน็ต นำมาใช้กันเพราะช่วยลดค่าใช้จ่าย และการบำรุงรักษา ได้เป็นอย่างดี
โดยเราจะพบว่า Base Band เป็นการเข้ารหัส ทางดิจิตอล จากต้นทาง  ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น ในมือถือ หรือ Smart Phone ก็ยังใช้ Base Brand ยุเพราะจะส่งสัญญาณ แนวเส้นคลื่นแบบ FM  แต่ก็มีข้อจำกัดทางความเร็วเพราะ เป็นการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว  หรือเทคโนโลยี CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) แปลเป็นไทยคือการส่งสัญญาณโดยใช้คลื่นพาหนะแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นตัวนำ
      2Broadband  นิยาม ของ Board คือ อนาล๊อก
Broadband Access คือ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ใช้เทคโนโลยี Asymmetric Digital Subscriber Line (ADSL) นั่นคือ การสื่อสารข้อมูลความเร็วสูง บนข่ายสายทองแดง หรือ คู่สายโทรศัพท์ โดยมีลักษณะสำคัญ คือ อัตราการเร็วในการรับข้อมูล (Downstream) และอัตราการเร็วในการส่งข้อมูล (Upstream) ไม่เท่ากัน โดยปัจจุบันทางเคเอสซีมีการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้ในอัตรารับข้อมูลสูงสุดที่ 4 Mbps และอัตราการส่งข้อมูลสูงสุดที่ 512 Kbps โดยระดับความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลจะขึ้นอยู่กับ ระยะทาง และคุณภาพของคู่สายนั้นๆ
และเทคนิคการ modulation  /และdemodulation โดยสัญญาณ ที่ปลายทาง โดยการส่งสัญญาณ ในเส้น สายทองแดง หรือ คู่สายโทรศัพท์ สามารถส่งข้อมูล ได้ระยะที่ไกล และสามารถส่งต่อไปเรื่อยๆ โดยใช้การ repeater สัญญาณ ใหม่  ใช้ได้หลาย signal ที่พร้อมกัน และไม่แปรผันโดยตรงกับสภาพอากาศ

เครติด http://www.nayjoe.com/baseband-broadband

Baseband และ Broadband คืออะไร

Baseband และ Broadband คืออะไร



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Baseband และ Broadband


          ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband)
จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband



          ระบบเครือข่ายแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
จะตรงข้ามกับ Baseband นั่นคือ จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่ตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถมีหลายช่องสัญญาณได้พร้อม ๆ กันโดยใช้วิธีแบ่งช่องความถี่ออกจากกัน ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันโดยใช้ช่องความถี่ของตนเองผ่านตัวกลางเดียว ตัวอย่างเช่น ระบบเครือข่าย Cable TV ซึ่งสามารถส่งสัญญาณมาพร้อมกันหลาย ๆ ช่องบนสายสื่อสารเส้นเดียว และผู้รับก็สามารถเลือกช่องความถี่ที่ต้องการชมได้ เป็น





เครติด http://iteiei.blogspot.com/2012/04/baseband-broadband.html